ข้อมูลโครงการวิจัย มหาวิทยาลัยราชธานี

          

ข้อมูลโครงการวิจัย
ชื่อโครงการวิจัย   ::    ประสบการณ์การจัดการตนเองของผู้ป่ วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้
ปีงบประมาณ   ::    2567
หัวหน้าโครงการวิจัย   ::    Preceptor 1
ผู้ร่วมโครงการวิจัย   ::    เสาวลักษณ์ ทาแจ้ง
แหล่งเงินสนับสนุน   ::    ภายใน
งบประมาณโครงการ   ::    10000
ประเภทโครงการวิจัย   ::    เชิงคุณภาพ
สาขาวิชา   ::    วิชาการพยาบาลครอบครัวและชุมชน
ผลการดำเนินงาน   ::    ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่
ผลการตีพิมพ์เผยแพร่   ::    วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล
เอกสารงานวิจัย   ::   
บทคัดย่อโครงการวิจัย   ::          การวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การจัดการตนเองของ ผู้ป่ วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ ผู้ให้ข้อมูลมีจ านวน 15 คน มี ระดับความดันโลหิตตัวบนมากกว่า 160 มิลลิเมตรปรอท และ/หรือระดับความดันโลหิตตัวล่างมากกว่า 100 มิลลิเมตรปรอท เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน มิถุนายน - สิงหาคม 2567 รวบรวมข้อมูลโดยวิธี การ สัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ตามแนวคิดของ ฮัซเซิร์ล (Husserl) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการของ จีออจี (Giorgi,s Method) และสร้างความน่าเชื่อถือของงานวิจัยตามแนวทางของลินคอนและกูบา ( Lincoln & Guba ) ผลการวิจัยพบว่า ประสบการณ์การจัดการตนเองของผู้ป่ วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนที่ควบคุม ระดับความดันโลหิตไม่ได้ สรุปได้ 3 ประเด็น ดังนี้ 1. เป็ นเพราะตนเอง คือ เป็ นการรับรู้ ความรู้สึก ความ เชื่อ วัฒนธรรมและการแสดงพฤติกรรมของผู้ป่ วยที่มีผลท าให้ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ เช่น การรับประทานอาหารที่มีโซเดียมสูง ไม่ออกกาลังกาย ลืมรับประทานยา ใช้สารที่มีผลต่อการเพิ่มระดับ ความดันโลหิต และมีความเชื่อวัฒนธรรมดั้งเดิมที่ไม่เหมาะสม 2. ครอบครัวและชุมชนมีส่วนสนับสนุน ช่วยเหลือ คือ การมีบุตรหลานดูแลเรื่องการเลือกรับประทานอาหารที่ดีให้ผู้ป่ วยรับประทาน 3. ระบบ บริการดีมีมาตรฐาน คือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้ค าแนะน าชัดเจน และระบบบริการมีความรวดเร็ว เข้าถึง ง่าย ซึ่งผลการวิจัยเป็ นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการท างานของระบบบริการสุขภาพเชิงรุก ให้มี ประสิทธิภาพและตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ
หน่วยคะแนน   ::          0.8